ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงกมล วัตรดุลย์
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
           
ผู้อำนวยการศูนย์บริการการพยาบาล
สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
โทรศัพท์ : (662) 256 4092-89 ต่อ 1120
E-Mail: Duangkamol.w@stin.ac.th
การศึกษา
- พ.ศ. 2521-2525 พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาบาลสภากาชาดไทย
- พ.ศ. 2529-2530 ประกาศนียบัตร Advanced special nursing course (ICU-CCU) Nihon University, Itabashi Hospital, Tokyo, Japan
- พ.ศ. 2535-2537 พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ.2541-2545 พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ ศิริราชมหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2549 สอบได้รับวุฒิบัตร Advanced Practice Nurse (APN) สาขา อายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์ จากสภาการพยาบาล
- พ.ศ. 2562 ประกาศนียบัตร Mini MBA in Health คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความเชี่ยวชาญ
Research area
- Cardiovascular Thoracic nursing
- Cerebrovascular nursing/ Stroke
- HIV/AIDS, TB
- บริหารการพยาบาล
Clinical area
- Critical care nursing
- Chronic illness
- Adult and geriatric
- Nursing service
ผลงานวิจัยตีพิมพ์
- ดวงกมล วัตราดุลย์ และ สุดประนอม สมันตเวคิน (2561).การประเมินประสิทธิผลหลักสูตรฝึกอบรมการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง : การประยุกต์แนวคิดโมเดลเคิร์กแพททริก. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 29(2), 111-126
ดวงกมล วัตราดุลย์, กนกพร แจ่มสมบูรณ์, เพ็ญจันทร์ แสนประสาน,นวรัตน์ สุทธิพงศ์, นงนุช เตชะวีรากร, และ มาเรียม เพราะสุนทร. (2559).ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการความรู้ทางการพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือดในพยาบาลวิชาชีพ.วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 2(27),85-99.
ดวงกมล วัตราดุลย์, ฐาปณีย์ น้ำเพชร, สุดประนอม สมันตเวคิน, และอรนุช เชาว์ปรีชา (2559). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเยาวชนเขตเมือง วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ,29 (1), 24-36.
Wattradul, D. & Sriyaporn, A. (2014). Experiences of Caregivers in Healthcare for and Social Support of HIV Positive Children Attending Schools in Bangkok. Asian Nursing Research, 8(3), 226-231.
ดวงกมล วัตราดุลย์ และ นิตยา สมบัติแก้ว (2556).การพัฒนาการดูแลระยะสุดท้ายในหน่วยวิกฤต: มุมมองของนักศึกษาการพยาบาลเฉพาะทาง หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต.วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 24(2):44-56
ดวงกมล วัตราดุลย์, ณัฐธิชา ชนะพันธ์, ณัฏฐิกา ถาวงษ์เพีย, ณัฏฐิกา บุญญะรังกิจ, นิรันดร์ ศรีชู, และ ปิยะนุช บุตรมาตร.(2553). ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพต่อ ความรู้ในการดูแลตนเอง ความวิตกกังวล และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล.วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 21 (2) ,18-33
ดวงกมล วัตราดุลย์, ศิริพรรณ ภมรพล, ศิริกุล ภมร และคณะ (2553). ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพต่อความรู้เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 21(1), 31-44.
ดวงกมล วัตราดุลย์, สมศรี เจริญหล้า, สุดประนอม สมันตเวคิน และคณะ.(2553).ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างศักยภาพผู้ดูแลต่อการรับรู้บทบาทของผู้ดูแลและคุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์. วารสารสภาการพยาบาล, 25(3), 37-49.
ดวงกมล วัตราดุลย์ และ ปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์ (2548). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยวัณโรคปอดและผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อHIV/AIDS.วิทยาสารพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 30 (2 ),132-148.
ดวงกมล วัตราดุลย์ กัลยา นาคเพ็ชร์ และ ปราณี อัศวรักษ์ (2548). พฤติกรรมการจัดการความเครียดและการเข้าถึงแหล่งการจัดการกับความเครียดในอาจารย์พยาบาลและนักศึกษาพยาบาลวิทยาสารพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย,30(3) ,289 – 305.
ดวงกมล วัตราดุลย์ และคณะ (2548) ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมพลังอำนาจในการรับรู้ตนเองและความพร่องในการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อHIV/AIDS. วิทยาสารพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 31(1), 169-182.
ดวงกมล วัตราดุลย์ และ ปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์ (2547).การศึกษาความพร่องในการดูแลตนเองในผู้ป่วยวัณโรคปอด วิทยาสารพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 29 (2), 127-144.
ดวงกมล วัตราดุลย์, พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น และศิริอร สินธุ. (2546). การศึกษาการรับรู้ความหมายของการล่วงละเมิดทางเพศในสังคม. วิทยาสารพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 28 (2), 124 –141.
ดวงกมล วัตราดุลย์, กมลรัตน์ เอิบสิริสุข และ วรวรรณ กิ่งแก้วก้านทอง. (2546). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรู้ของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยวัณโรคปอด. วิทยาสารพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 28 (3), 238-252.
เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, ดวงกมล วัตราดุลย์, นัชชา สุนทรสวัสดิ์, และนวลใย พิศชาติ.(2560). ปัจจัยส่งเสริมการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองระบบการดูแลเครือข่ายในชุมชน (PNC) : การวิจัยเชิงคุณภาพ.วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 29 (2),141-156.
เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, ดวงกมล วัตราดุลย์, อุบล ชุ่มจินดา, วารี วณิชปัญจพล, และนวรัตน์ สุทธิพงค์. ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างความรู้ด้วยตนเองด้านการพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือดในพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน.วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 28 (2), 140-153.
เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, ดวงกมล วัตราดุลย์, ลัดดาวัลย์ เตชางกูร, และ นวลใย พิศชาต.(2560).ปัจจัยสนับสนุนระบบการดูแลแบบไร้รอยต่อ ของเครือข่ายการพยาบาลโรคหัวใจ. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 28 (2),154-167.
เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, ดวงกมล วัตราดุลย์, และนวรัตน์ สุทธิพงศ์ (2560). การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน: มุมมองของผู้ป่วยสูงอายุโรคหัวใจขาดเลือดและญาติผู้ดูแล วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก. 1(28),142-153.
Chutitorn, A & Wattradul, D. (2015). Providers’ perspectives in health services for People living with asymptomatic HIV/AIDS. Thai Red Cross Nursing Journal, 8(2),72-83.
เพ็ญจันทร์ แสนประสาน ดวงกมล วัตราดุลย์ กนกพร แจ่มสมบูรณ์ และคณะ.(2558). ภาวะภาพสุขภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดกรณีศึกษา:ตำบลคูบางหลวงจังหวัดปทุมธานี. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 26(1), 29-43.
ศุภลักษ์ คูณศรี, ทวีศักดิ์ กสิผล, ดวงกมล วัตราดุลย์ และ รัชนี นามจันทรา. (2558). ผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัวต่อความสำเร็จ และระยะเวลาที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีภาวการณ์หายใจล้มเหลว.วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 26(1), 73-88.
เพ็ญจันทร์ แสนประสาน ดวงกมล วัตราดุลย์ วรณิช พัวไพโรจน์ และคณะ(2558).ผลของ โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต่อความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 26(1), 109-122.
เอมอร แสงศิริ ดวงกมล วัตราดุลย์ สุธานิธิ กาญจนกุล และคณะ (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ.วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 26(1), 104-118.
ภาวนา วัฒนาสวัสดิ์ กนกพร นทีธนสมบัติ และดวงกมล วัตราดุลย์. (2557).ประสิทธิผลของระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนการเรียนรู้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการรักษาโดยวิธีขยายหลอดเลือดหัวใจ. วาสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 25 (1), 10-118.
ฐาปณีย์ น้ำเพชร, ศุทธิจิต ภูมิพัฒนะ และ ดวงกมล วัตราดุลย์.(2556).การรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลและอาจารย์พยาบาลต่อการบูรณาการแนวคิดสร้างเสริมสุขภาพในการจัดการเรียนการสอนวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่1.วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 24 (1):56-71.
อรชร ศรีไทรล้วน และ ดวงกมล วัตราดุลย์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 23(2),17-30.
อัจนา แทนขำ, กนกพร จิวประสาท และ ดวงกมล วัตราดุลย์ (2555)ผลของการใช้แนวปฏิบัติการดูแลช่องปากในผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยวิกฤต. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 23 (2), 59-78.
ศศิธร เจริญวุฒิพงศ์ และ ดวงกมล วัตราดุลย์ (2554).ผลของโปรแกรมการจัดการความเครียดต่อระดับความเครียดของอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาพยาบาล.วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 25(1), 46-63
ศรีนวล สถิตวิทยานันท์ และ ดวงกมล วัตราดุลย์ (2553). ความเสี่ยงต่อการไม่ปลอดภัยในชีวิตความเครียด และคุณภาพชีวิตการทำงาน ของพยาบาลที่ปฏิบัติงานใน 3 จังหวัดภาคใต้ที่มีเหตุการณ์ความไม่สงบ. วารสารพยาบาล, 59 ( 1), 1-13.
Ankana, S., Wattradul, D., Apaijirarat, J., Wisadsan, W., Rojanaprasert, P and Puektes, S. (2004). Improving Health Care and Support for Children HIV/AIDS in School: Learning from Teachers. International Proceeding, X International AIDS Conference. Bologna: Medimond S.r.l. pp. 87-91.
ฐาปณีย์ น้ำเพชร และ ดวงกมล วัตราดุลย์ (2548). การสำรวจการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ ในพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหน่วยวิกฤต.วิทยาสารพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย,30 (3) ,404-419.
อังคณา สริยาภรณ์, ดวงกมล วัตราดุลย์, จุไร อภัยจิรรัตน์ และคณะ. (2549). ประสิทธิผลของการเสริมสร้างศักยภาพญาติผู้ดูแลเด็กติดเชื้อHIV/AIDSต่อภาระในการดูแลตนเองและความผาสุก วิทยาสารพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย,31 (1 )102 -111.
กัลยา นาคเพ็ชร์, ดวงกมล วัตราดุลย์ และ ศศิธร เจริญวุฒิพงศ์. (2549). ประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะการจัดการกับความเครียดต่อการใช้แหล่งในการจัดการกับความเครียดในนักศึกษาพยาบาล. วิทยาสารพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 31(1), 25-36.
บทความวิชาการตีพิมพ์
ดวงกมล วัตราดุลย์. (2560). “State of the Art Care for Critical Stroke: Excellent Nursing” ใน ดุสิต สถาวร ครรชิต ปิยะเวช และ สหดล บุญถาวร (บรรณาธิการ). The Best ICU. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด. หน้า 441-44
ดวงกมล วัตราดุลย์. (2558). การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ : การดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน. วาสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 26(1), 89-103.
ดวงกมล วัตราดุลย์. (2554). การปฏิบัติที่ดีสู่ความเป็นเลิศในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด: การทบทวนวรรณกรรม. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 22 (2),2-13
ดวงกมล วัตราดุลย์. (2549). “การพยาบาลผู้ป่วยใส่ท่อระบายจากทรวงอก.” ใน เพ็ญศรี ระเบียบ, จันทร์เพ็ญ สันตวาจา ประคอง อินทรสมบัติ และ ประภาพร จินันทุยา (บรรณาธิการ) บทความวิชาการการศึกษาต่อเนื่อง สาขาพยาบาลผู้ใหญ่และสูงอายุ เล่มที่ 3. กรุงเทพฯ: สิริยอดการพิมพ์. หน้า 10-20.
ดวงกมล วัตราดุลย์. (2551). การพัฒนามาตรฐานการพยาบาลในผู้ป่วยโรคหัวใจและทรวงอก. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก. 19 (2), 11-21.
ดวงกมล วัตราดุลย์. (2547). “ การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ.” ใน เพ็ญศรี ระเบียบ, อรพรรณ โตสิงห์ และ กรองได อุณหสูต (บรรณาธิการ) บทความวิชาการการศึกษาต่อเนื่อง สาขาพยาบาลศาสตร์. เล่มที่ 1. กรุงเทพฯ: สิริยอดการพิมพ์. หน้า 199-210.
ดวงกมล วัตราดุลย์. (2547). “ การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่มีภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากโรคเบาหวาน.” ใน วัชระ จามจุรีรักษ์, ธาริณี เบญจวัฒนานันท์ และ สุนันทา สวรรค์ปัญญาเลิศ (บรรณาธิการ). หนังสือการอบรม 5th BGH Critical Care for Nurses. พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพฯ: ส. รุ่งทิพย์ ออฟเซท. หน้า 46-57.
- ดวงกมล วัตราดุลย์. (2547).” การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด: บทบาทสำคัญของพยาบาล.” วิทยาสารพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 29(2), 192-201.
หนังสือ / ตำรา
ดวงกมล วัตราดุลย์ (2558). การประเมินผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ. ใน เพ็ญจันทร์ แสนประสาน ดวงกมล วัตราดุลย์ และกนกพร แจ่มสมบูรณ์ (บรรณาธิการ). ใน การแปล ผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ. กรุงเทพฯ: สุขุมวิทการพิมพ์. หน้า 34-83.
ดวงกมล วัตราดุลย์ (2552). หลักจริยธรรมในการวิจัย R to R ในเพ็ญจันทร์ แสนประสาน ดวงกมล วัตราดุลย์ กนกพร แจ่มสมบูรณ์ . (บรรณาธิการ) .ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการพยาบาล: CQI to R to R. กรุงเทพฯ: สุขขุมวิทการพิมพ์
ดวงกมล วัตราดุลย์ (2551). การสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยโรคหัวใจ ใน เพ็ญจันทร์ แสนประสาน ดวงกมล วัตราดุลย์ บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ (บรรณาธิการ) ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT. กรุงเทพฯ: สุขขุมวิทการพิมพ์
ดวงกมล วัตราดุลย์ (2551). มาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ. ใน เพ็ญจันทร์ แสนประสาน กนกพร แจ่มสมบูรณ์ ดวงกมล วัตราดุลย์ (บรรณาธิการ) มาตรฐานการพยาบาล CVT: แนวคิดในการพัฒนาคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สุขขุมวิทการพิมพ์
ทุนและรางวัลที่ได้รับ
ทุนวิจัย/บริการวิชาการ
- ประธานดำเนินโครงการบริการวิชาการและดำเนินโครงการวิจัยต่อเนื่อง โดยได้รับทุนจากองค์กรระดับชาติและนานาชาติ ได้แก่
- โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างเสริมพลังอำนาจในการในการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อ HIV/AIDSได้ทุนจาก องค์กรยูนิเซฟ จำนวน 124,400 บาท มีผลงานวิจัย 2 เรื่อง
- โครงการบริการวิชาการ Comprehensive care and support for Persons and children with HIV/AIDS and family caregivers affected by HIV/AIDS in the Community ได้ทุนบริการวิชาการจากรัฐบาลญี่ปุ่น จากมูลนิธิโอกุระ จำนวน 3,475,190 บาท มีผลงานวิจัย 2 เรื่อง
- ประธานโครงการบริการวิชาการ เรื่อง Assessment of HIV treatment and care services for people living with asymtomatic HIV/AIDS ได้ทุนจาก WHO จำนวน 500,000 บาท
- ประธานโครงการบริการวิชาการ เรื่อง Developing guideline of care for people living with asymtomatic HIV/AIDS (PWHA) ได้ทุนจาก WHO จำนวน 500,000 บาท ได้งานผลวิจัย 1 เรื่อง และเสนอผลงานวิชาการระดับนานาชาติ 2 เรื่อง
- ประธานศูนย์วิจัยทางการพยาบาลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี พ.ศ. 2551-2560 มีบริการวิชาการ 3 โครงการ ได้แก่
- โครงการประชุมวิชาการ การส่งเสริมการจัดการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วย HIV/AIDS
- Faculty practice เรื่อง .การให้คำปรึกษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์. สถานที่ คลินิก immune ตึก ภปร 3 และ ภปร 2 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
- โครงการบริการวิชาชีพในโครงการ การส่งเสริมจิตอาสาในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในเยาวชนของ ศูนย์การศึกษาและวิจัยทางการพยาบาลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ และมีงานวิจัย 3 โครงการ (ได้ทุนวิจัยจาก วช. 1 ทุน) และมีการนำผลงานวิจัยไปใช้ 1 เรื่อง
รางวัลที่ได้รับ
- -นักวิจัยดีเด่น ปี พ.ศ. 2557 วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
- นักวิจัยดีเด่น ปี พ.ศ. 2558 สมาคมศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทยฯ
- โลห์เกียรติคุณ ปี พ.ศ. 2556 ในฐานะผู้สนับสนุนและช่วยเหลือการดำเนินกิจกรรมต้านภัยเอดส์ จากองค์กรฟิวเจอร์กรุ๊ฟ ภายใต้การสนับสนุนของมูลนิธิต้านภัยเอดส์
Duangkamol Wattradul, Assistant Professor , Dr
Position : Assistant Professor Dr.
Department : Adult and Gerontological Nursing
Tel. No : (662) 256 4092-89 ต่อ 1120
E-Mail: Duangkamol.w@stin.ac.th
EDUCATION
Name of institution and country | Period of study month/year | Field of study | Degree or diploma earned | |
From | To | |||
Chulalongkorn University, Faculty of Medicine | 2018 | 2019 | Mini MBA in Health | Diploma of Mini MBA in Health |
Mahidol University, Thailand | 1998 | 2002 | Nursing | D.N.S. |
Mahidol University, Thailand | 1993 | 1995 | Adult Nursing | M.N.S. |
Nihon University, Japan | 1986 | 1887 | Advanced special course of ICU-CCU Nursing | Diploma of Advanced Special Nursing Course (ICU-CCU) |
The Thai Red College of Nursing, Thailand | 1978 | 1981 | Nursing | B.N.S. |
Expertise
Research area
- Cardiovascular Thoracic nursing
- Cerebrovascular nursing/ Stroke
- HIV/AIDS, TB
- Nursing Administration
Clinical area
- Critical care nursing
- Chronic illness
- Adult and geriatric
- Nursing service/ Health system
RESEARCH PUBLICATION
–
ACADEMIC PUBLICATION
–
BOOKS PUBLICATION
–
Award
–