B-Panchan Thapanakulsuk

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์

ตำแหน่ง : • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.

สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

โทรศัพท์ : (662) 256 4092-89 ต่อ 2142
E-Mail: panchan.t@stin.ac.th

การศึกษา

  • พ.ศ. 2538 : พยาบาลศาสตรบัณฑิต  วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย  

  • พ.ศ. 2553 :พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่  คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี

  • พ.ศ. 2558  :Nursing Scholar at college of nursing, University of Illinois, at Chicago.

  • พ.ศ. 2561: พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการพยาบาล หลักสูตรนานาชาติ โครงการร่วมคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ความเชี่ยวชาญ

  • คุณภาพชีวิตและการดูแลผู้ป่วยในระยะยาว

Research area

  • คุณภาพชีวิต
  • ความปวด
  • การพัฒนาเครื่องมือวิจัย

Clinical area

  • ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  • ผู้ป่วยมะเร็ง
  • การดูแลแบบประคับประคอง

ผลงานวิจัยตีพิมพ์

  1. Thapanakulsuk, P., Sirapongam, Y., Ferrans, C.E, Orathai, P., Junda, T. (2020). Psychometric Testing of a Spiritual Well-being Scale for People with cancer. Pacific Rim International Journal of Nursing, 24(1), 39-53. (Funding: National Research Council of Thailand)
  2. ศรินรัตน์ วัฒนธรนันท์ และ ปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์ (2558). การบูรณาการแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 : การรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลและอาจารย์ผู้สอน, วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 26 (2),107-119.
  3. เกศรินทร์ ศรีสง่า,เฉลิมศรี สุวรรณเจดีย์ และปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์ (2547). การสำรวจข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยที่เป็นวัณโรค. วิทยาสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 29 (3), 316-324.
  4. ดวงกมล วัตราดุลย์ และปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์. (2547). ความพร่องในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคมะเร็งปอด. วิทยาสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 29 (2),316-324.
  5.  

บทความวิชาการตีพิมพ์

  • ปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์. (2563).การวางแผนการดูแลรักษาล่วงหน้า: ประเด็นสำคัญของการดูแลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 43 (3).
  • ปานจันทร์ คล่องยันต์. (2545). การประเมินความปวด : บทบาทที่ท้าทายสำหรับพยาบาล. วิทยาสารพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 27(3), 238-240.
  • ปานจันทร์ คล่องยันต์. (2546). การประเมินความปวด. วิทยาสารพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย,28(1), 68-75.
  • ปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์. (2547). การประเมินความปวดในผู้สูงอายุ. วิทยาสารพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 29(2), 202-206.
  • ปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์. (2547). การจัดการกับความปวดในการพยาบาลแบบประคับประคอง. วิทยาสารพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 29(3), 353-363.
  • ปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์. (2548). การดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วยที่มีปัญหาในระบบทางเดินอาหาร.วิทยาสารพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 30(1), 62-69.

หนังสือ / ตำรา

ทุนและรางวัลที่ได้รับ

  1. 2553-2555  ทุนวิจัย การส่งเสริมสุขภาพสตรีในโรงงาน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
  2. 2561-2563  ทุนวิจัย การพัฒนาแบบวัดความผาสุกด้านจิตวิญญาณสำหรับผู้ป่วยมะเร็งคนไทย สำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
  3. 2563-2565 ทุนวิจัย การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการยอมรับการทำหนังสือแสดงเจตนาเพื่อการรักษาทางการแพทย์ในผู้สูงอายุไทยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข

Panchan Thapanakulsuk, Assistant Professor Dr

Position : • Assistant Professor

Department : Adult and Gerontological Nursing

Tel. No : (662) 256 4092-89 ต่อ 2142
E-Mail: panchan.t@stin.ac.th

EDUCATION

  • 2013 Doctor of Philosophy Programme in Nursing (International and Collaborative with Foreign University Programme) Mahidol, University, Thailand

  • 2015 Visiting Scholar, College of Nursing, University of Illinois at Chicago.

  • 1997 M.N.S. (Adult  Nursing) Ramathibodi school of Nursing, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University, Thailand

  • 1995 Bachelor of Nursing  Science  (B.N.S.) The Thai Red Cross College of Nursing, The Thai Red Cross Society, Thailand

Expertise

Research area

  • Quality of life  
  • Pain
  • Instrument development

Clinical area

  • Chronic illness

  • Cancer nursing

  • Palliative care

RESEARCH PUBLICATION

  • Thapanakulsuk, P., Sirapongam, Y., Ferrans, C.E, Orathai, P., Junda, T. (2020). Psychometric Testing of a Spiritual Well-being Scale for People with cancer. Pacific Rim International Journal of Nursing, 24(1), 39-53.  (Funding: National Research Council of Thailand)
  • Watradul, D. & Thapanakulsuk.,P. (2004). Self-care deficit in patients with pulmonary tuberculosis. The Journal of The Thai Red Cross College of Nursing. 29, 2 (May – August). 127-144. (Funding from The Thai Red Cross Nursing Alumni)
  • 3) Srisanga ,K.,  Suwonnajadee, C. &Thapanakulsuk,P. (2004).The survey of evidence-based on nursing  practice in patient with tuberculosis. The Journal of The Thai Red Cross College of Nursing .29,3 (September. – December), 316-324.

ACADEMIC PUBLICATION

  • Thapanakulsuk, P. (2020).Advance care planning: important issue of geriatric palliative care. Journal of nursing science and health, 43 (3).
  • Thapanakulsuk, P. (2004). Pain management in palliative nursing. The Journal of The Thai Red Cross  College of Nursing. 29, 3 (September. – December ). 353-363.
  • Thapanakulsuk.P. (2004). Pain assessment in the elderly. The Journal of The Thai Red Cross College of  Nursing. 29,2 (May – August), 202-206.
  • Thapanakulsuk. P. (2005). Palliative care of the patient with gastrointestinal problems. The Journal of The Thai Red Cross College of Nursing .30,1 (January-April), 62-69.
  • Srisanga ,K., Suwonnajadee, C. &Thapanakulsuk,P. (2004).The survey of evidence-based on nursing  practice in patient with tuberculosis. The Journal of The Thai Red Cross College of Nursing .29, 3 (September. – December), 316-324.  
  • Watradul, D. & Thapanakulsuk., P. (2004). Self-care deficit in patients with pulmonary tuberculosis. The Journal of The Thai Red Cross College of Nursing. 29, 2 (May – August). 127-144. (Funding from The Thai Red Cross Nursing Alumni)

BOOKS PUBLICATION

Award

  • Funding from The National Research Council of Thailand for research entitled        “Development of Spiritual Well-being scale for Thai Patients with Cancer” (2016-2018)
  • Funding from Thai Health Promotion Foundation in project of Health promotion of  women working   in industrial factory . (2010- 2012)
  • Funding from Thai Health Promotion Foundation in project of Development of Continuing Care Model for Intimate Partner Violence. (2009- 2012)
Tags: No tags

Comments are closed.